เอก ซ์ เร ย์

วันนี้เอกซเรย์ขาหน้าขวาสาเหตุที่ไม่ลงน้ำหนัก !! - YouTube

" การฉีดสีถ่ายภาพเอกซเรย์หลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery Angiography-CAG) หรือเรียกว่า การตรวจสวนหัวใจ เป็นการตรวจดูหลอดเลือดหัวใจ เพื่อวินิจฉัยภาวะที่ผู้ป่วยเจ็บแน่นหน้าอก ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถทำการตรวจวินิจฉัยโดยวิธีอื่นได้ การตรวจสวนหัวใจและการวินิจฉัยโดยการใช้สวนสอดเข้าสู่หลอดเลือดและหัวใจ ทำเพื่อศึกษาการไหลเวียนของเลือด วัดความดัน และวัดปริมาณของออกซิเจนในห้องหัวใจ และบันทึกภาพโดยการฉีดสารทึบรังสี ประโยชน์ของการฉีดสีตรวจหลอดเลือดหัวใจ 1. ใช้ในการวินิจฉัยภาวะโรคหลอดเลือดหัวใจได้ถูกต้องแม่นยำ 2. ยืนยันการวินิจฉัยภาวะโรคหัวใจ และหลอดเลือดหัวใจได้ 3. ทราบความรุนแรงของหัวใจและหลอดเลือด 4. สามารถรักษาภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยใช้วิธีการขยายด้วยบอลลูนต่อได้เลย ประเภทของผู้ป่วย ที่จะใช้การตรวจวินิจฉัยโดยการตรวจหลอดเลือดหัวใจ 1. ผู้ป่วยที่มีประวัติการเจ็บหน้าอก หรือรอดชีวิตจากการมีหัวใจหยุดเต้นโดยไม่ทราบสาเหตุ 2. ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก และมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดหัวใจเต้นเร็ว 3. ผู้ป่วยที่อาจได้รับอันตรายจากการตรวจภาวะโรคหัวใจขาดเลือดโดยวิธีอื่นๆ 4. ผู้ป่วยที่มีอาการแน่นหน้าอก และมีภาวะหัวใจล้มเหลว 5.

ชั้น 1 อาคารเอกซเรย์ เวลาทำการ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08. 00-16. 00 น. ติดต่อหรือสอบถามข้อมูล โทร 1105

ชุมพร - โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเครื่องเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ (Mammogram) - YouTube

  1. ที่ปิดช่องเสียบกุญแจรถมอไซค์เปิดไม่ได้ครับ - Pantip
  2. หลักสูตร การ ศึกษา ขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
  3. ชุมพร - โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเครื่องเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ (Mammogram) - YouTube

ผู้ป่วยรายที่แพทย์ยังไม่ได้ข้อมูลเพียงพอในการที่จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจขาดเลือดหรือไม่ วิธีการตรวจ 1. ทำความสะอาดบริเวณข้อมือหรือขาหนีบ และแพทย์จะฉีดยาชาในบริเวณนั้น 2. เจาะหลอดเลือดผ่านผิวหนังบริเวณข้อมือ หรือขาหนีบ 3. สอดสายสวนเข้าสู่หลอดเลือด จนผ่านไปถึงหลอดเลือดหัวใจ 4. ฉีดสารทึบรังสีผ่านสายสวน และเก็บบันทึกภาพถ่ายของหลอดเลือดหัวใจ 5. ถอดสายสวนออกจากหลอดเลือด 6. กดบริเวณที่ถอดสายสวน จนเลือดหยุด ข้อควรปฏิบัติ หลังจากได้รับการปฏิบัติด้วยวิธี CAG 1. ผู้ป่วยจะต้องนอนราบและเหยียดขาข้างที่ทำหรือห้ามงอข้อมือข้างที่ทำ เป็น เวลา 6-12 ชั่วโมง ภายหลังการรักษา โดยมีแถบรัดที่ข้อมือ หรือถุงทรายวางทับบริเวณขาหนีบที่สอดเข็มเข้าไปเพื่อหยุดเลือด 2. หากไม่มีอาการผิดปกติใดๆ ผู้ป่วยสามารถกลับบ้านได้ในวันถัดไป 3. ไม่ต้องตกใจหากพบว่ามีรอยช้ำและอาการขัดเวลาเดิน เพราะเกิดจากการสอด เข็มเข้าไปที่ขาหนีบ รอยและอาการจะหายไปได้เอง 4. ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำ หรือซับบริเวณแผลให้แห้งทุกครั้งหลังอาบน้ำ ทำความสะอาดแผลโดยใช้แอลกอฮอล์ และสำลีสะอาด 5. พักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่ทำงานหนัก การออกกำลังกายที่เหมาะสม คือการเดิน 6.

ถง-พลาสตก-ใส-ป-อป-คอรน September 20, 2022

offwater.com, 2024